ชื่อ – สุกล
นางพรทิพย์ เที่ยงตรง
ตำแหน่ง เจ้าพนักงานโสตทัศนศึกษาปฏิบัติงาน
สังกัด
ศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนนครราชสีมา
เรื่องเล่าเข้าประเด็น
(ตามหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย)
ตามที่ได้มอบหมายให้ข้าพเจ้ามีหน้าที่ในการให้บริการเรื่องการจัดการความรู้
การผลิตสื่อเพื่อการฝึกอบรม การให้บริการผ่านสื่ออิเลคทรอนิคส์ การให้บริการดูแลรักษาระบบคอมพิวเตอร์และเครือข่าย ซึ่งทั้งหมดทั้งปวงต้องเกี่ยวข้องกับเครื่องคอมพิวเตอร์
และโปรแกรมคอมพิวเตอร์ทั้งสิ้น บางครั้งเครื่องคอมพิวเตอร์เกิดปัญหาขึ้นมา เช่น
แฮงค์ ทำงานช้า ย่อมเกิดอุปสรรค์ต่อการทำงาน
ปัญหาที่พบ
คอมพิวเตอร์ก็เหมือนกับเครื่องใช้ไฟฟ้าโดยทั่วไป ๆ ถ้าคุณใช้อย่างเดียวไม่ดูแลรักษา อายุของการใช้ก็นะสั้นลง
ส่วนคอมพิวเตอร์ก็จะมีลักษณะคือเครื่องทำงานช้า ไม่เร็วเหมือนตอนซื้อมาใหม่ๆ หรือเต็มไปด้วยขยะทั้งฮาร์ดดิสก์
ดังนั้นเรามาช่วยกันดูแลรักษาคอมพิวเตอร์กันดีกว่า เพื่อให้เครื่องใช้ ได้นาน ๆ และทำให้เครื่องเร็วขึ้น วิธีการแก้ไขปัญหาที่ประสบผลสำเร็จ
วิธีการแก้ไขปัญหาที่ประสบผลสำเร็จ
1. การสแกนไวรัส
1. การสแกนไวรัส
- สแกนไวรัส
ทุกครั้ง
ก่อนเปิดใช้งาน Flash Drive
- สแกน Drive ทุก Drive อย่างน้อยอาทิตย์ละ
1 ครั้ง
- ในการเสียบ
Flash Drive ทุกครั้ง ห้าม
Double Click โดยเด็ดขาด
เมื่อสแกนไวรัสแล้วให้
คลิกขวา เลือก Open หรือ Explore
2. การลบ Temp
Files
วิธีการลบ Temp Files
-
กด Start >>Run
-
ปรากฏหน้าต่าง
Temp Files
-
กดที่ Menu ด้านบน :Edit >> Select
All หรือกด Ctrl + A
-
กด Shift+delete เพื่อไม่ให้ไฟล์ที่ถูกลบไปเก็บไว้ในถังขยะ
-
อีกที่
คือที่ C:\Windows\temp ทำเหมือนเดิมคือ กด Start
>>Run แล้วพิมพ์
C:\Windows\temp
-
หน้าต่างเปิดขึ้นมาแล้วเป็นไฟล์
temp
เช่นกัน ไม่มีประโยชน์เช่นเดิม ก็ลบทิ้งได้เช่นกัน
-
กดที่ Menu ด้านบน :Edit >> Select
All หรือกด Ctrl + A
-
กด Shift+delete เพื่อไม่ให้ไฟล์ที่ถูกลบไปเก็บไว้ในถังขยะ
3. การใช้งาน Disk Clean up
สำหรับลบไฟล์ที่ไม่จำเป็นออกจากฮาร์ดดิสก์
Disk
Cleanup เป็นเครื่องมืออย่างหนึ่งที่มีมาให้ใน
Windows ใช้สำหรับการทำความสะอาดฮาร์ดิสก์ หรือ เรียกง่าย ๆ
ก็คือใช้สำหรับลบไฟล์ต่าง ๆ ที่ไม่จำเป็นในการใช้งานทิ้ง เพื่อให้อาร์ดดิสก์ของเครื่องคอมฯ
มีเนื่อที่เหลือใช้งานเพิ่มมากขึ้น ดังนั้นควรที่จะทำการสั่งโปรแกรม
Disk Cleanup เป็นประจำ สัปดาห์ละ 1 ครั้ง
ขั้นตอนการทำ Disk Cleanup
ขั้นตอนการทำ Disk Cleanup
1. เปิด My
Computer
2. คลิกขวาที่ Drive ที่ต้องการทำ Disk Cleanup
เลือก Properties
3. ปรากฏหน้าจอ
Properties กด Disk Cleanup
4. คลิกเครื่องหมายถูกไฟล์ที่ต้องการลบ ในช่องo แล้วคลิก ok( เลือก Downloaded Program Files
Temporary Internet Files Recycle Bin
Temorary Files เนื่องจากไฟล์ดังกล่าว
เป็นไฟล์ขยะที่เกิดจากการดาวน์โหลดของอินเตอร์เน็ต) ตอบ Yes เพื่อต้องการลบ
การแก้ไขไวรัสที่ซ่อนโฟล์เดอร์
เมื่อเสียบ Flash Drive แล้ว ก็ติดเชื่อไวรัสตัวหนึ่ง ซึ่งได้ทำการซ่อน Folder ใน Flash Drive หลังจากได้ทำการ Clean ไวรัสเรียบร้อยแล้ว แต่ Folder ที่ถูกซ่อนก็ไม่สามารถเรียกคืนได้ ไปกำหนด Folder Options ให้ View แบบ Show hidden files and folders แล้ว ก็ไม่สามารถกำหนด Properties เพื่อแก้ hidden ออกได้ ได้ลอง search หาวิธีการแก้ทางอินเทอร์เน็ต จึงได้ไปพบความรู้การแก้ด้วย DOS จากเว็บ http://gotoknow.org/blog/a-pawn/180830 ขอขอบคุณมากๆ และขออนุญาตนำความรู้ดังกล่าว มาอธิบาย ขยายความเพิ่มเติมนะคะ
เมื่อเสียบ Flash Drive แล้ว ก็ติดเชื่อไวรัสตัวหนึ่ง ซึ่งได้ทำการซ่อน Folder ใน Flash Drive หลังจากได้ทำการ Clean ไวรัสเรียบร้อยแล้ว แต่ Folder ที่ถูกซ่อนก็ไม่สามารถเรียกคืนได้ ไปกำหนด Folder Options ให้ View แบบ Show hidden files and folders แล้ว ก็ไม่สามารถกำหนด Properties เพื่อแก้ hidden ออกได้ ได้ลอง search หาวิธีการแก้ทางอินเทอร์เน็ต จึงได้ไปพบความรู้การแก้ด้วย DOS จากเว็บ http://gotoknow.org/blog/a-pawn/180830 ขอขอบคุณมากๆ และขออนุญาตนำความรู้ดังกล่าว มาอธิบาย ขยายความเพิ่มเติมนะคะ
วิธีการแก้ Hidden Folder ด้วยคำสั่ง DOS มีดังนี้
1.
คลิก start --> run
2.
พิมพ์คำสั่ง cmd แล้วกด enter หรือคลิก OK
3.
พิมพ์ f: (เมื่อ Flash
Drive เป็นไดร์ f:)
4. พิมพ์คำสั่ง
attrib -s -h -r /S /D (สั่งยกเลิกการซ่อน Folder ทั้งหมด) หรือ พิมพ์ attrib -s -h -r /S /D
ตามด้วยชื่อ
Folder ที่ต้องการยกเลิกการซ่อน (กรณีสั่งยกเลิกทีละ
Folder)
ภาพประกอบที่ 2 start --> run --> cmd --> OK |
ภาพประกอบที่ 3 พิมพ์คำสั่ง attrib -s -h -r /S /D แล้ว Enter |
ข้อพึงระวัง
ควรศึกษาทำความเข้าใจกับชื่อของระบบต่างๆ
ของคอมพิวเตอร์บ้าง และระหว่างปฏิบัติการไม่ควรให้ไฟฟ้าดับ
ฉะนั้น ต้องตรวจสอบเครื่องสำรองไฟให้มีความพร้อม
เพราะถ้าไฟฟ้าดับขณะกำลังดำเนินการ จะทำให้โปรแกรมต่างๆ
เกิดความสับสนและเสียหายได้
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น